โดยส่วนใหญ่แล้ว ผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานมีความเสี่ยงต่อการป่วยที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังและอาการต่างๆ แต่คนผอมก็ใช่ว่าจะสุขภาพดี ห่างไกลโรคเสมอไป ผู้ที่มีน้ำหนักตัวน้อยเมื่อตรวจร่างกายอาจพบว่ามีไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และกระดุกพรุนได้เช่นกัน
การใช้ยาระบายจำนวนมากเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการกำจัดอาหารที่กินเข้าไปแล้ว ยาเหล่านี้ถูกนำมาใช้เพื่อที่จะลดการดูดซึมอาหารและเร่งการทำงานของกระเพาะอาหารและลำไส้ ในทำนองเดียวกัน ยาขับปัสสาวะก็มักจะใช้เพื่อเพิ่มการปัสสาวะ และลดน้ำในร่างกาย เพื่อลดน้ำหนักตัว
“โรคคลั่งผอม” อาการป่วยที่ไม่ไกลตัวสาวยุคใหม่
ประสบปัญหาสุขภาพทางเพศ ได้แก่ มีลูกยากและประจำเดือนไม่มาสำหรับผู้หญิง หรือฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนลดลงและหย่อนสมรรถภาพทางเพศสำหรับผู้ชาย
โรค อะนอร์เร็กเซีย ไม่สามารถรักษาได้ด้วยยาเพียงอย่างเดียว แพทย์มักใช้รักษาควบคู่กับวิธีบำบัด โดยใช้ยาเพื่อรักษาภาวะทางจิตอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นร่วมด้วย เช่น โรคย้ำคิดย้ำทำ หรือโรคซึมเศร้า ยาที่ใช้รักษาผู้ป่วย อะนอร์เร็กเซีย ได้แก่ ยากลุ่มเอสเอสอาร์ไอ และยาโอแลนซาปีน ดังนี้
ผู้ป่วยโรคคลั่งผอมสุ่มเสี่ยงเป็นโรคร้ายอะไรบ้าง
ประจำเดือนไม่มา เพราะระบบฮอร์โมนผิดปกติ
จะเห็นได้ว่าผู้ที่ป่วยเป็นโรคคลั่งผอมนั้นเป็นอันตรายทั้งสุขภาพกายและใจ หากปล่อยไว้เป็นแบบนี้จะสุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคภัยต่าง ๆ และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยต้องหมั่นคอยสังเกตอาการ คอยช่วยตักเตือนและให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาทานอาหารในปริมาณที่เหมาะสม หากผู้ป่วยมีอาการขาดสารอาหารหนักเช่น อ่อนเพลียทั้งวัน กล้ามเนื้อไม่มีแรง ความดันโลหิตต่ำก็ต้องส่งผู้ป่วยเข้ารับการรักษากับแพทย์อย่างใกล้ชิด
เกี่ยวกับเรา ติดต่อเรา คำถามที่พบบ่อย ร่วมงานกับเรา พาร์ทเนอร์ ร่วมลงทุน ใบอนุญาตนายหน้าประกันภัย ไทย
บริษัทสมิติเวช จำกัด (มหาชน) เอกสารประกาศความเป็นส่วนตัว ข้อกำหนดการใช้งาน
เอาแต่พะวงเกี่ยวกับอาหาร แคลอรี่ และการควบคุมอาหาร
• ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ: สอนผู้ป่วยเรื่องการกินอาหารเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี และการมีน้ำหนักตัวที่เหมาะสม รวมไปถึงความสำคัญของ การกินอาหารตรงตามหลักโภชนาการ
แพทย์จะวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเข้าข่ายป่วยเป็นโรคนี้่หรือไม่ โดยเบื้องต้นจะซักถามคำถามทั่วไปเกี่ยวกับน้ำหนักตัวและพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น โรคผอม น้ำหนักตัวที่ลดลงในช่วงที่ผ่านมา ความรู้สึกหรือความกังวลเกี่ยวกับน้ำหนักตัว พฤติกรรมล้วงคออาเจียน ปัญหาประจำเดือนไม่มาหรือปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยต้องตอบคำถามเหล่านี้ตามความจริง เพื่อให้ประมวลผลออกมาได้อย่างแม่นยำ ทั้งนี้ แพทย์อาจตรวจด้านอื่น ๆ สำหรับประกอบการวินิจฉัย ดังนี้
คุณได้รับประโยชน์จากบทความนี้หรือไม่?